本文へジャンプ
  1. sabaijaiconsulting homeHome
  2. Company registration in Thai (タイでの起業・進出)
  3. About Tax (タイの税金・税務申告)

タイで非課税となる収入について

タイで非課税となる収入について

タイでの個人所得税の計算においては、課税されるもの(給料所得、役務報酬、ロイヤリティ収入、賃貸所得等)と、非課税となる収入(下記)を分ける必要があります。

【タイ国税法典第42条】
มาตรา 42 เงินได้พึงประเมินประเภทต่อไปนี้ให้ได้รับยกเว้นไม่ต้อง รวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้
(1) ค่าเบี้ยเลี้ยง หรือค่าพาหนะ ซึ่งลูกจ้างหรือผู้รับหน้าที่หรือ ตำแหน่งงาน หรือผู้รับทำงานให้ได้จ่ายไปโดยสุจริตตามความจำเป็นเฉพาะ ในการที่ต้องปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน และได้จ่ายไปทั้งหมดในการนั้น
(2) ค่าพาหนะและเบี้ยเลี้ยงเดินทางตามอัตราที่รัฐบาลกำหนดไว้ โดยพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยอัตราค่าพาหนะและเบี้ยเลี้ยงเดินทาง
(3) เงินค่าเดินทางซึ่งนายจ้างจ่ายให้ลูกจ้างเฉพาะส่วนที่ลูกจ้าง ได้จ่ายทั้งหมดโดยจำเป็นเพื่อการเดินทางจากต่างถิ่น ในการเข้ารับงานเป็น ครั้งแรก หรือในการกลับถิ่นเดิมเมื่อการจ้างได้สิ้นสุดลงแล้ว แต่ข้อยกเว้นนี้มิ ให้รวมถึงค่าเดินทางที่ลูกจ้างได้รับในการกลับถิ่นเดิม และในการเข้ารับงาน ของนายจ้างเดิมภายในสามร้อยหกสิบห้าวัน นับแต่วันที่การจ้างครั้งก่อนได้ สิ้นสุดลง
(4) ในกรณีที่นายจ้างและลูกจ้างได้ทำสัญญากันโดยสุจริต ก่อนใช้ พระราชบัญญัติภาษีเงินได้พุทธศักราช 2475 มีข้อกำหนดว่า นายจ้างจะชำระ เงินบำเหน็จ เงินค่าธรรมเนียม เงินค่านายหน้า หรือเงินโบนัสให้แก่ลูกจ้าง เป็นจำนวนเดียวเมื่อการงานที่จ้างได้สิ้นสุดลงแล้ว แม้เงินเต็มจำนวนนั้นจะ ได้ชำระภายหลังที่ใช้บทบัญญัติในส่วนนี้ก็ดี เงินบำเหน็จ เงินค่าธรรมเนียม เงินค่านายหน้า หรือเงินโบนัสส่วนที่เป็นค่าจ้างแรงงานอันได้ทำในเวลา ก่อนใช้พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ พุทธศักราช 2475 นั้นไม่ต้องรวมคำนวณ เพื่อเสียภาษีเงินได้
(5) เงินเพิ่มพิเศษประจำตำแหน่ง และเงินค่าเช่าบ้าน หรือบ้าน ที่ให้อยู่โดยไม่ต้องเสียค่าเช่า สำหรับข้าราชการ สถานทูตหรือสถานกงสุล ไทยในต่างประเทศ
(6) เงินได้จากการขาย หรือส่วนลดจากการซื้ออากรแสตมป์ ไปรษณียากรของรัฐบาล
(7) เบี้ยประชุมกรรมาธิการหรือกรรมการ หรือค่าสอน ค่าสอบ ที่ทางราชการหรือสถานศึกษาของทางราชการจ่ายให้
(8) ดอกเบี้ยดังต่อไปนี้
(ก) ดอกเบี้ยสลากออกสิน หรือดอกเบี้ยเงินฝากออมสินของ รัฐบาลเฉพาะประเภทฝากเผื่อเรียก
(ข) ดอกเบี้ยเงินฝากประเภทออกทรัพย์ที่ได้รับจากสหกรณ์
(ค) ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารในราชอาณาจักรที่ต้องจ่ายคืน
เมื่อทวงถามประเภทออมทรัพย์ เฉพาะกรณีที่ผู้มีเงินได้ได้รับดอกเบี้ยดังกล่าว ในจำนวนรวมกันทั้งสิ้นไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทตลอดปีภาษีนั้น ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศกำหนด
(9) การขายสังหาริมทรัพย์อันเป็นมรดก หรือสังหาริมทรัพย์ที่ได้ มาโดยมิได้มุ่งในทางการค้าหรือหากำไร แต่ไม่รวมถึงเรือกำปั่น เรือที่มี ระวางตั้งแต่หกตันขึ้นไป เรือกลไปหรือเรือยนต์ที่มีระวางตั้งแต่ห้าตันขึ้นไป หรือแพ
(10) เงินได้ที่ได้รับจากการอุปการะโดยหน้าที่ธรรมจรรยา เงิน ที่ได้รับจากการรับมรดกหรือจากการให้โดยเสน่หาเนื่องในพิธีหรือตามโอกาส แห่งขนบธรรมเนียมประเพณี
(11) รางวัลเพื่อการศึกษาหรือค้นคว้าในวิทยาการรางวัลสลาก กินแบ่งหรือสลากออมสินรัฐบาล รางวัลที่ทางราชการจ่ายให้ในการประกวด หรือแข่งขัน ซึ่งผู้รับมิได้มีอาชีพในการประกวดหรือแข่งขัน หรือสินบนรางวัล ที่ทางราชการจ่ายให้ เพื่อประโยชน์ในการปราบปรามการกระทำความผิด
(12) บำนาญพิเศษ บำเหน็จพิเศษ บำนาญตกทอด หรือบำเหน็จ ตกทอด
(13) ค่าสินไหมทดแทนเพื่อละเมิดเงินที่ได้จากการประกันภัยหรือ การฌาปนกิจสงเคราะห์
(14) เงินส่วนแบ่งของกำไรจากห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคล ที่มิใช่นิติบุคคลแต่มิใช่กองทุนรวม
(15) เงินได้ของชาวนาที่ได้จากการขายข้าว อันเกิดจากกสิกรรม ที่ตนและหรือครอบครัวได้ทำเอง
(16) เงินได้ที่ได้รับจากกองมรดก ซึ่งต้องเสียภาษีตามความใน มาตรา 57ทวิ
(17) เงินได้ตามที่จะได้กำหนดยกเว้นโดยกฎกระทรวง
(18) รางวัลสลากบำรุงกาชาดไทยเงินได้จากการขายหรือส่วน ลดจากการซื้อสลากบำรุงกาชาดไทย
(19) ดอกเบี้ยที่ได้รับตาม มาตรา 4ทศ
(20) (ยกเลิกโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม ประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 26) พ.ศ.2525 มาตรา 5 ตั้งแต่วันที่ 28 สิงหาคม 2525 เป็น ต้นไป)
(21) (ยกเลิกโดย พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับ ที่ 29) พ.ศ.2534 มาตรา 6
ใช้บังคับ 7 พฤศจิกายน 2534 เป็นต้นไป)
(22) (ยกเลิกโดยพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 14) พ.ศ.2529 มาตรา 8 ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2529 เป็น ต้นไป)
(23) เงินได้จากการขายหน่วยลงทุนในกองทุนรวม
(24) เงินได้ของกองทุนรวม
(25) เงินประโยชน์ทดแทนที่ผู้ประกันตนได้รับจากกองทุนประกัน สังคม ตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม


<非課税項目。所得税納税の計算に含める必要はないもの>
(1)被雇用者、権限、職責を委譲された者、または代行者が正直にもっぱら己の義務を実行するために支払った日当・交通費(定額の通勤手当は該当せず
(2)政府が旅行の交通費および日当を定めている勅令にもとづく率による旅行の交通費と日当
(3)被雇用者が最初に赴任するため、または雇用が終了して帰任するために必要な旅費を雇用者が支払った場合、被雇用者が全額支払った分。ただし、前回支払われた赴任、帰任の日から365日以内に元の雇用者が支払う旅費をのぞく。
(4)1932年所得税施行以前に締結された雇用契約で、雇用主が被雇用者に対して一時金等を支給することになっているケース
(5)タイ国外の大使館または領事館の公務員のための職務追加手当・住宅立てまたは住宅の無償提供
(6)収入印紙もしくは政府郵便切手の販売からの所得、購買時の割引き
(7)政府または政府の教育機関が支払う委員会会議手当、教授料、調査手当
(8)次の利息
 (i)政府の貯蓄性宝くじの利息、貯蓄性預金の利息で要求払い預金からのもの
 (ii)協同組合からの貯蓄性預金の利息
 (iii)タイ国内銀行の引き落とし可能貯蓄性預金からの利息で課税年度内に1万バーツを越えない場合(1995年以降は2万バーツ以上に引き上げ)
(9)遺産である動産の販売、営利目的以外で取得した動産の販売。但し船は除く。
(10)慈善事業からの所得、遺産相続から得た所得、儀式・伝統習慣から得た所得
(11)学術研究もしくは発見に対する報償、政府宝くじもしくは貯蓄性預金宝くじの当選金等。
(12)特別年金、特別一時金、相続年金または相続一時金。
(13)不法行為に対する賠償金、損害保険金、葬儀代
(14)納税義務のある普通パートナーシップまたは法人でない個人の集合体の利益からの配当金。但し、投資信託からの分配金をのぞく。
(15)自己または家族が自ら栽培・収穫した米作農民の米の販売からの所得。
(16)遺産財団(57条2で定める)から生じる所得
(17)省令により非課税が定められているもの
(18)タイ国赤十字くじの賞金、販売、購入割引からの所得
(19)~(22)省略
(23)(24)投資信託の販売による所得、投資信託からの所得
(25)社会保険法に基づき社会保険基金から被保険者が受領した給付金

特に、非課税となる所得についての省令が出ており、例示されてありますので、ご確認を。


タイ税金に関してのいくつか

タイの税金・税務申告についての簡単なまとめ
付加価値税(VAT=Value Added Tax)を払わなくていい・請求しなくていいケース
タイで非課税となる収入について
タイ現地法人の決算、タイでの確定申告について
日本・タイ租税条約




mail  to sabaijaiconsulting

 sabaijaiconsulting backBack